ตอนที่ 2 ไฟไหม้ Grenfell Tower จากโฟม PIR – UK ให้รื้อโฟม PIR ทิ้ง

จากเหตุการณ์ ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อ Grenfell Tower พิษจากก๊าซไซยาไนด์ที่ถูกปล่อยออกมาจากการเผาไหม้ของฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากโฟม PIR (Polyisocyanurate) ทำให้ถึงแก่ความตาย อ่านต่อบทความเดิม ตอนที่ 1 ไฟไหม้ Grenfell Tower จากโฟม PIR 👉 คลิก

อังกฤษให้ดีเวลลอปเปอร์จ่าย 5 พันล้านปอนด์ เพื่อรื้อถอนคลัดดิ้ง ติดตั้งด้วย ฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากโฟม PIR (Polyisocyanurate) ที่ก่อ ก๊าซไซยาไนด์ หลังไฟไหม้

Grenfell Tower fire disaster with PIR foam
Grenfell Tower fire disaster with PIR foam
Grenfell Tower fire disaster with PIR foam

ก๊าซไซยาไนด์จากโฟม PIR (Polyisocyanurate) เป็นอันตรายถึงชีวิต

อังกฤษให้ดีเวลลอปเปอร์จ่าย 5 พันล้านปอนด์ เพื่อรื้อถอนคลัดดิ้ง ติดตั้งด้วย ฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากโฟม PIR (Polyisocyanurate) ที่ก่อ ก๊าซไซยาไนด์ หลังไฟไหม้

จากเหตุการณ์ไฟไหม้ Grenfell Tower ทำให้เกิดพิษ ก๊าซไซยาไนด์ ที่ถูกปล่อยออกมาจากการเผาไหม้ของฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากโฟม PIR Polyisocyanurate พีไออาร์ หรือ พอลิไอโซไซยานูเรต ก๊าซไซยาไนด์ จากโฟม PIR (Polyisocyanurate) นี้ เป็นอันตรายถึงชีวิต เวลาเผาไหม้ปริมาณ ก๊าซไซยาไนด์ ที่มีมากพอที่จะฆ่าคนได้

อังกฤษได้สั่งให้ดีเวลลอปเปอร์จ่ายเงินประมาณ 5.4 พันล้านปอนด์ เพื่อรื้อคลัดดิ้ง ติดตั้งด้วย ฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากโฟม PIR (Polyisocyanurate) ที่ก่อ ก๊าซไซยาไนด์ หลังไฟไหม้ ออกจากอาคาร หลังจากเกิดเหตุไฟไหม้ในลอนดอนปี 2017 ที่คลัดดิ้ง ติดตั้งด้วย ฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากโฟม PIR (Polyisocyanurate) หลังจากเกิดไฟไหม้ปล่อย ก๊าซไซยาไนด์ ที่เป็นอันตรายทำให้คนเสียชีวิต จากเหตุการณ์ครั้งนี้ รัฐบาล ดีเวลลอปเปอร์ และผู้ที่เกี่ยวข้องต่างถกกันเพื่อให้ได้ข้อสรุปเพื่อนำมาซึ่งมาตรการความปลอดภัยของอาคาร

จากเหตุไฟไหม้ที่ Grenfell Tower ในลอนดอน ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 70 คน และเปิดเผยถึงการใช้คลัดดิ้ง ติดตั้งด้วย ฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากโฟม PIR (Polyisocyanurate) ที่ก่อ ก๊าซไซยาไนด์ หลังไฟไหม้ และไวไฟบนตึกทั่วประเทศ ซึ่งต้องถูกรื้อถอน ในขณะที่ยังไม่ได้รื้อถอน ต้องเฝ้าระวังเหตุการณ์ไฟไหม้ตลอดเวลา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงที่พักอาศัย Michael Gove กำหนดระยะเวลาให้ดีเวลลอปเปอร์ตกลงซึ่งแผนการ การรื้อถอนคลัดดิ้ง ติดตั้งด้วย ฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากโฟม PIR (Polyisocyanurate) ที่ก่อ ก๊าซไซยาไนด์ หลังไฟไหม้ ที่ไม่ปลอดภัยนี้ ในช่วงต้นเดือนมีนาคม โดยทางรัฐจะให้การสนับสนุน รวมถึงจัดตั้งกองทุนเพื่อรื้อถอนนี้อย่างเต็มที่

รัฐบาลได้จัดสรรเงินประมาณ 5 พันล้านปอนด์สำหรับการรื้อถอนคลัดดิ้ง ติดตั้งด้วย ฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากโฟม PIR (Polyisocyanurate) ที่ก่อ ก๊าซไซยาไนด์ หลังไฟไหม้แล้ว และในปีที่แล้วได้ใช้อำนาจบังคับดีเวลลอปเปอร์ชำระค่าใช้จ่ายประมาณ 2 พันล้านปอนด์ในช่วง 10 ปีข้างหน้า โดยมุ่งเน้นการรื้อถอนคลัดดิ้งบนตึกสูงระหว่าง 11 ถึง 18 เมตรที่ผู้เช่าต้องจ่ายเป็นหมื่นๆปอนด์ เพื่อการรื้อถอน คุณ Gove ได้กล่าวต่อว่า “…มันไม่ยุติธรรม และไม่สมเหตุสมผลที่ผู้เช่าที่ไม่มีความผิดต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่พวกเขาไม่สามารถจ่ายได้ เพื่อแก้ปัญหาที่เขาไม่ได้สร้าง” คุณ Gov กล่าวต่อว่า รัฐบาลจะดำเนินการทุกอย่างที่จำเป็น เพื่อให้ดีเวลลอปเปอร์รับผิดชอบ รวมถึงการจำกัดการเข้าถึงเงินทุนและการจัดซื้อในอนาคตของดีเวลลลอปเปอร์ การใช้อำนาจดำเนินคดีกับดีเวลลอปเปอร์ผ่านทางศาล ถ้าดีเวลลอปเปอร์ไม่รับผิดชอบ รัฐบาลจะดำเนินการที่จำเป็น เพื่อใช้กฎหมายบังคับ คุณ Gov กล่าวเพิ่มเติม

รัฐบาลได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักว่าใช้เวลานานในการแก้ปัญหานี้ โดยผู้เช่าบางคนไม่สามารถขายห้องที่อยู่อาศัยของตนได้ เมื่อต้องจ่ายค่าใช้จ่ายที่มีมูลค่ามากกว่าราคาค่าห้องที่อยู่อาศัยของตน

 

คลัดดิ้ง ติดตั้งด้วย ฉนวนกันความร้อนที่ผลิตจากโฟม PIR (Polyisocyanurate) ที่ก่อ ก๊าซไซยาไนด์ หลังไฟไหม้ ที่ติดตั้งในคลัดดิ้งบนตึก Grenfell Tower ถูกพิสูจน์ชัดว่า เป็นส่วนสำคัญของการกระจายไฟ. REUTERS (11/1/2022).

ที่มา Bangkok Post 2022.

Grenfell Tower Fire